Loading Events

« All Events

  • This event has passed.

Speedy Grandma – This nor Mundane

March 17, 2018 @ 1:00 pmApril 12, 2018 @ 8:00 pm UTC+7

Speedy Grandma - This nor Mundane

THIS NOR MUNDANE
– Collective fiction exhibition

17 March 2018 – 14 April 2018

Artist :
Aaron Grech
Asst. Prf. Suchanee Glinslisdhi
Au Tammarat
Beninside
Bloody Hell Big Head
Boonyathorn
gotuya
Jeff Gompertz
Jame Jame
Jub
Jeno Kim
MM Kosum
Nut Sawasdee
Pearamon Tulavardhana
Poom Nuthong
Tae Parvit
Unchalee Anantawat

Curator :
Nawin Nuthong

for more information: 0970954240 (Tan)
——————————————————————————————

 

“This nor Mundane” translated directly would mean “Not here nor this world” in which Mundane can be translated as worldly, or daily life. This phrase is grammatically incorrect. Therefore using this phrase in everyday life would be very confusing. If someone were to say this phrase, it would be a character in a fiction world, where this character had travelled into the fiction within that fiction. Because we often see the existence of the realm within another realm, or even tales, which are fictions of that world that the character in that fiction has invented, for example, the world behind the rabbit hole from Alice in Wonderland, Emerald Dream from World of Warcraft, or the many dimension in many timeline from Rick and Morty.

In the scope of anthropologist, learning culture through cartoon and fictional media is beneficial to understanding of the root of cultural mechanism. Moreover, the industry of creating fictional world is no longer limited only to mainstream media. However, it has been pushed forward by normal people or fan clubs of that fiction. Thus, increasing the number of fictional world, as well as expanding the limit of it. For example, writing a fanfic of a fiction will create another dimension or even another world to the initial fiction, creating new characters, new timeline that expand further than the original fiction. The existence of these new worlds, creates new dimension of visual that goes beyond what we see in our daily life, or even in the world.

In this exhibition, we would like to explore into the procedure of opening these new worlds of each artists. How did the same character that yelled ‘this nor mundane’ traverse out of its original realm. What are the doors between each dimension in different fiction. We could observe that warping or travelling from one galaxy to another galaxy in Startrek and Star Wars have a huge difference in visual. Even traversing from one world to another world is as easy as opening a pink door in Doraemon. These three fictions all have different aspect of visualizing the two realms within it. Therefore, the event that connects realms together has many possibilities. For example, which color does the light create from the book that the character picked out? Or how do the 18 folds of doors look like? Or are there glitches like in post-internet art? All of these are created from the imagination of the creator of that fiction, or for this exhibition, it is the artist themselves.

Therefore, the work of each artist will have different physical space of a fiction. Each physical space will have a door within it, whereas that door maybe the dreamscape of another character in another fiction. This collective fiction exhibition brings fiction creators together to create a dialogue that parallel spaces are present to the audience.

——————————————————————————————

“This nor mundane” หากแปลตรงตัวจะมีความหมายว่า “ไม่ใช่ที่นี่หรือ
ไม่ใช่โลกนี้” ซึ่ง mundane แปลได้ว่า ทางโลก, โลกีย์, หรือ ชีวิตประจำวัน วลีนี้เป็นไวยกรณ์ที่ไม่ค่อยได้ความ ถ้านำไปพูดกันในวงสนทนาก็คงจะมีคนสงสัยมากๆ :) หากถามว่าใครเป็นคนเอ่ยประโยคนี้ ก็คงจะตอบได้ว่าเป็น ตัวละครตัวหนึ่งที่อยู่ในโลก Fiction หนึ่ง ตัวละครตัวนี้ได้หลุดเข้าไปในโลก Fiction ของ Fiction อีกที เพราะเรามักจะเห็นการมีอยู่ของโลก(realm)อีกโลก หรือแม้แต่นิทานหรือเรื่องเล่าที่เป็น fiction ที่ตัวละครในโลก fiction นั้นแต่งขึ้นทับซ้อนอยู่ เช่น โลกหลังโพรงกระต่ายใน Alice in wonderland, Emerald Dream โลกความฝันใน Warcraft หรือมิติในหลาย Timeline ในการ์ตูนเรื่อง Rick and Morty

ใน scope ของนักมานุษยวิทยา การเรียนรู้วัฒนธรรมผ่านสื่อการ์ตูนมีคุณค่าในการทำให้เข้าใจการก่อตัวของโครงสร้างกลไกทางวัฒนธรรม และอุตสาหกรรมการผลิตโลก fiction นั้น ไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่สื่อกระแสหลักอีกต่อไป แต่ได้รับการผลักดันโดยคนทั่วไป หรือแฟนคลับที่ติดตาม fiction ต่างๆ นั่นทำให้จำนวณของโลก fiction มีมากขึ้นและขยายกว้างไปในทางที่กว้างขวาง เช่น การสร้าง fanfic นั้น ทำให้เกิดอีกมิติหรือแม้แต่อีกโลกหนึ่งของ fiction เดิม เกิดตัวละครใหม่ๆ เกิด timeline ใหม่ๆ ที่ไปได้กว้างกว่าเดิม การเกิดขึ้นของโลกใหม่ๆเหล่านี้ ทำให้มิติของ visual ที่เกิดขึ้น เป็นไปได้ไกลกว่าสิ่งที่เราเห็นในชีวิตประจำวัน หรือแม้แต่โลกใบนี้

ในงานนิทรรศการชิ้นนี้ เราจึงต้องการที่จะท่องเที่ยวไปในวิธีการเปิดโลกใหม่ๆ ของศิลปินแต่ละคน ตัวละครตัวเดิมตะโกนว่า “this nor mundane” ได้ข้ามผ่านโลกเดิมของเขาอย่างไร ทางเชื่อมที่เชื่อมมิติต่างๆ ใน fiction คืออะไร เราจะเห้นว่า การวาร์ปหรือการเดินทางข้ามกาแลกซี่ของ Startrek กับ Star Wars มี Visual ที่แตกต่างกัน หรือแม้แต่การข้ามไปอีกโลกสามารถทำได้อย่างง่ายดายด้วยการเปิดประตูมิติสีชมพูของโดเรม่อน ซึ่งทั้งสามเรื่องนี้ มี visual ในการเชื่อมโลกทั้งสองโลกที่แตกต่างกันชัดเจน ดังนั้น เหตุการณ์ในการเชื่อมโลกดังกล่าว จึงมีความเป็นไปได้หลากหลายทาง เช่น หนังสือที่ตัวละครหยิบออกมาหาทางออก ส่องแสงสีอะไร? หรือ ประตูที่ถูกทับซ้อนกัน 18 บาน หน้าตามันจะเป็นอย่างไร เกิด glitch ที่ทันสมัยแบบ post- internet art หรือป่าว สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นจากจินตนาการของผู้สร้าง fiction นั้น หรือสำหรับงานนี้ ก็คือตัวศิลปิน

ดังนั้น ผลงานของศิลปินแต่ละงานจะมี physical space ของ fiction ที่แตกต่างกัน ระหว่าง physical space ก็จะมีประตูบางอย่างอยู่ ซึ่งประตูนั้นอาจจะเป็น โลกความฝันของตัวละครอีกตัวหนึ่งในงานของคนอื่น ซึ่งใน collective fiction exhibition ครั้งนี้นำผลงานของผู้ผลิต Fiction มารวมกันเพื่อสร้าง Dialogue ที่ปรากฏ parallel space ให้ผู้ชม

Details

Start:
March 17, 2018 @ 1:00 pm UTC+7
End:
April 12, 2018 @ 8:00 pm UTC+7
Event Category:

Venue

Speedy Grandma
672/50-52 Charoenkrung Soi 28, Bangrak
Bangkok, Bangkok 10500 Thailand
Website:
www.speedygrandma.com

Leave a Comment